วันจันทร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2567
MOU คืออะไร มีผลบังคับใช้ยังไง แตกต่างจากสัญญาหรือไม่
MOU คืออะไร มีผลบังคับใช้ยังไง แตกต่างจากสัญญาหรือไม่ เช็คที่นี่มีคำตอบ หลังคำนี้กลายเป็นคำที่มีผู้สนใจค้นหาคำตอบอย่างแพร่หลาย ฐานเศรษฐกิจทำหน้าที่รวบรวมไว้ให้แล้ว เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
MOU คืออะไร เป็นคำถามที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก หลังจากที่ช่วงนี้ในประเทศไทย มีการพูดถึงคำคำนี้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในโลกของชีวิตจริง และโลกออนไลน์
หลังจากที่พรรคก้าวไกล ซึ่งนำโดยพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรค และแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี ชนะศึกเลือกตั้ง 2566 โดยมีนโยบายเสนอการทำ MOU เพื่อจัดตั้งคณะรัฐบาล
"ฐานเศรษฐกิจ" จะพาไปพบกับคำตอบเพื่อคลายข้อสงสัยเรื่อง "MOU"
MOU (เอ็มโอยู) ย่อมาจาก Memorandum of Understanding แปลว่า "บันทึกความเข้าใจ"
หมายถึง เอกสารที่บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หรือความเข้าใจระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ซึ่งเมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเห็นตรงกัน รับทราบถึงรายละเอียดในบันทึกข้อตกลง และยอมรับข้อตกลงที่ทำร่วมกันแล้ว ตัวแทนผู้มีอำนาจของทั้งสองฝ่ายจะลงนามในบันทึกข้อตกลงนั้น เพื่อรับรองว่า ทั้งสองฝ่ายพึงพอใจกับข้อตกลงที่ทำร่วมกัน และ MOU ฉบับนี้ก็จะมีผลบังคับใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในเอกสารนั้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ข้อแตกต่าก MOU-สัญญา
หลายคนอาจเข้าใจว่า "MOU" กับสัญญา น่าจะมีคว่ามคล้ายคลึงกัน เพราะมีการเซ็นลงนามเหมือนกัน แต่ในความเป็นจริงแล้ว 2 คำนี้ มีความแตกต่างกัน ดังนี้
MOA หมายถึง บันทึกข้อตกลง ถือเป็นหนังสือสัญญาที่มีการระบุหลักเกณฑ์หรือข้อกติกาให้ผู้ทำสัญญาต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้
โดยหากมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตาม MOA ก็อาจมีความผิดทางกฎหมายฐานประพฤติผิดสัญญา และอีกฝ่ายสามารถฟ้องร้องได้
ซึ่งแตกต่างจาก MOU ที่เป็นการบันทึกความเข้าใจร่วมกัน แต่ไม่ใช่ข้อสัญญาผูกมัดนั่นเอง
อย่างไรก็ดี กองธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน นฤมล บุญแต่ง นักวรรณศิลป์ 7 ว ให้คำอธิบายว่า บันทึกความเข้าใจ หรือ MOU เป็นหนังสือซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใด และตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่ง
โดยที่หนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่วแน่ของผู้ลงนามว่าจะปฏิบัติดังที่ได้ระบุไว้ เช่น สถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งในประเทศไทย ทำบันทึกความเข้าใจกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ เพื่อความร่วมมือทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษา
ขณะที่ บันทึกข้อตกลง (Memorandum of Agreement) เป็นหนังสือหรือสัญญา ซึ่งมีข้อความที่ระบุเป็นหลักเกณฑ์หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติหรือดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นข้อกติกา ข้อที่นัดหมายกันไว้ หรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้ จึงมีใช้ได้ทั้ง 2 คำ แต่จะใช้บันทึกความเข้าใจมากกว่า เช่น MOU ระหว่างมหาวิทยาลัยกับส่วนราชการ ในการแลกเปลี่ยนวิชาการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
MOU พรรคก้าวไกล
ล่าสุดนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกล พร้อมแกนนำพรรคร่วมรัฐบาล 8 พรรคการเมือง ได้มีการการลงนามข้อตกลงร่วม (MOU) ในการจัดตั้งรัฐบาล โดยระบุว่า จุดประสงค์ในการทำ MOU เป็นการรวบรวมวาระร่วมของพรรคการเมืองที่เห็นตรงกัน และพร้อมจะผลักดันผ่านกลไกของรัฐบาล และรัฐสภา และเป็นความรับผิดชอบข้อตกลงร่วมกันของพรรคที่มาร่วมกันจัดตั้งรัฐบาล
สำหรับเนื้อหาของ MOU การจัดตั้งรัฐบาลครั้งนี้ ระบุว่า บันทึกความเข้าใจร่วมนี้จัดทำขึ้นเพื่อสร้างพื้นฐานในการจัดตั้งรัฐบาล และการทำงานร่วมกันระหว่างพรรคก้าวไกล พรรคก้าวไกล พรรคเพื่อไทย พรรคประชาชาติ พรรคไทยสร้างไทย พรรคเสรีรวมไทย พรรคเพื่อไทรวมพลัง พรรคเป็นธรรม และพรรคพลังสังคมใหม่
ทั้งนี้ทุกพรรคเห็นร่วมกันว่า ภารกิจของรัฐบาลที่ทุกพรรคจะผลักดันนั้นต้องไม่กระทบต่อรูปแบบของรัฐ การปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และการดำรงอยู่ในฐานะเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ต่อองค์พระมหากษัตริย์ โดยมีวาระร่วมทั้งสิ้น 23 ข้อ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ตอบลบMOU คืออะไร มีผลบังคับใช้ยังไง แตกต่างจากสัญญาหรือไม่ เช็คที่นี่มีคำตอบ หลังคำนี้กลายเป็นคำที่มีผู้สนใจค้นหาคำตอบอย่างแพร่หลาย ฐานเศรษฐกิจทำหน้าที่รวบรวมไว้ให้แล้ว เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
MOU คืออะไร เป็นคำถามที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก หลังจากที่ช่วงนี้ในประเทศไทย มีการพูดถึงคำคำนี้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในโลกของชีวิตจริง และโลกออนไลน์
หลังจากที่พรรคก้าวไกล ซึ่งนำโดยพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรค และแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี ชนะศึกเลือกตั้ง 2566 โดยมีนโยบายเสนอการทำ MOU เพื่อจัดตั้งคณะรัฐบาล
"ฐานเศรษฐกิจ" จะพาไปพบกับคำตอบเพื่อคลายข้อสงสัยเรื่อง "MOU"
MOU (เอ็มโอยู) ย่อมาจาก Memorandum of Understanding แปลว่า "บันทึกความเข้าใจ"
หมายถึง เอกสารที่บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หรือความเข้าใจระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ซึ่งเมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเห็นตรงกัน รับทราบถึงรายละเอียดในบันทึกข้อตกลง และยอมรับข้อตกลงที่ทำร่วมกันแล้ว ตัวแทนผู้มีอำนาจของทั้งสองฝ่ายจะลงนามในบันทึกข้อตกลงนั้น เพื่อรับรองว่า ทั้งสองฝ่ายพึงพอใจกับข้อตกลงที่ทำร่วมกัน และ MOU ฉบับนี้ก็จะมีผลบังคับใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในเอกสารนั้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ข้อแตกต่าก MOU-สัญญา
หลายคนอาจเข้าใจว่า "MOU" กับสัญญา น่าจะมีคว่ามคล้ายคลึงกัน เพราะมีการเซ็นลงนามเหมือนกัน แต่ในความเป็นจริงแล้ว 2 คำนี้ มีความแตกต่างกัน ดังนี้
MOA หมายถึง บันทึกข้อตกลง ถือเป็นหนังสือสัญญาที่มีการระบุหลักเกณฑ์หรือข้อกติกาให้ผู้ทำสัญญาต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้
โดยหากมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตาม MOA ก็อาจมีความผิดทางกฎหมายฐานประพฤติผิดสัญญา และอีกฝ่ายสามารถฟ้องร้องได้
ซึ่งแตกต่างจาก MOU ที่เป็นการบันทึกความเข้าใจร่วมกัน แต่ไม่ใช่ข้อสัญญาผูกมัดนั่นเอง
อย่างไรก็ดี กองธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน นฤมล บุญแต่ง นักวรรณศิลป์ 7 ว ให้คำอธิบายว่า บันทึกความเข้าใจ หรือ MOU เป็นหนังสือซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใด และตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่ง
โดยที่หนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่วแน่ของผู้ลงนามว่าจะปฏิบัติดังที่ได้ระบุไว้ เช่น สถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งในประเทศไทย ทำบันทึกความเข้าใจกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ เพื่อความร่วมมือทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษา
ขณะที่ บันทึกข้อตกลง (Memorandum of Agreement) เป็นหนังสือหรือสัญญา ซึ่งมีข้อความที่ระบุเป็นหลักเกณฑ์หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติหรือดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นข้อกติกา ข้อที่นัดหมายกันไว้ หรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้ จึงมีใช้ได้ทั้ง 2 คำ แต่จะใช้บันทึกความเข้าใจมากกว่า เช่น MOU ระหว่างมหาวิทยาลัยกับส่วนราชการ ในการแลกเปลี่ยนวิชาการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
MOU พรรคก้าวไกล
ล่าสุดนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกล พร้อมแกนนำพรรคร่วมรัฐบาล 8 พรรคการเมือง ได้มีการการลงนามข้อตกลงร่วม (MOU) ในการจัดตั้งรัฐบาล โดยระบุว่า จุดประสงค์ในการทำ MOU เป็นการรวบรวมวาระร่วมของพรรคการเมืองที่เห็นตรงกัน และพร้อมจะผลักดันผ่านกลไกของรัฐบาล และรัฐสภา และเป็นความรับผิดชอบข้อตกลงร่วมกันของพรรคที่มาร่วมกันจัดตั้งรัฐบาล
สำหรับเนื้อหาของ MOU การจัดตั้งรัฐบาลครั้งนี้ ระบุว่า บันทึกความเข้าใจร่วมนี้จัดทำขึ้นเพื่อสร้างพื้นฐานในการจัดตั้งรัฐบาล และการทำงานร่วมกันระหว่างพรรคก้าวไกล พรรคก้าวไกล พรรคเพื่อไทย พรรคประชาชาติ พรรคไทยสร้างไทย พรรคเสรีรวมไทย พรรคเพื่อไทรวมพลัง พรรคเป็นธรรม และพรรคพลังสังคมใหม่
ทั้งนี้ทุกพรรคเห็นร่วมกันว่า ภารกิจของรัฐบาลที่ทุกพรรคจะผลักดันนั้นต้องไม่กระทบต่อรูปแบบของรัฐ การปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และการดำรงอยู่ในฐานะเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ต่อองค์พระมหากษัตริย์ โดยมีวาระร่วมทั้งสิ้น 23 ข้อ
ตอบลบMOU คืออะไร มีผลบังคับใช้ยังไง แตกต่างจากสัญญาหรือไม่ เช็คที่นี่มีคำตอบ หลังคำนี้กลายเป็นคำที่มีผู้สนใจค้นหาคำตอบอย่างแพร่หลาย ฐานเศรษฐกิจทำหน้าที่รวบรวมไว้ให้แล้ว เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
MOU คืออะไร เป็นคำถามที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก หลังจากที่ช่วงนี้ในประเทศไทย มีการพูดถึงคำคำนี้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในโลกของชีวิตจริง และโลกออนไลน์
หลังจากที่พรรคก้าวไกล ซึ่งนำโดยพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรค และแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี ชนะศึกเลือกตั้ง 2566 โดยมีนโยบายเสนอการทำ MOU เพื่อจัดตั้งคณะรัฐบาล
"ฐานเศรษฐกิจ" จะพาไปพบกับคำตอบเพื่อคลายข้อสงสัยเรื่อง "MOU"
MOU (เอ็มโอยู) ย่อมาจาก Memorandum of Understanding แปลว่า "บันทึกความเข้าใจ"
หมายถึง เอกสารที่บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หรือความเข้าใจระหว่างองค์กร หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ซึ่งเมื่อทั้งสองฝ่ายมีความเห็นตรงกัน รับทราบถึงรายละเอียดในบันทึกข้อตกลง และยอมรับข้อตกลงที่ทำร่วมกันแล้ว ตัวแทนผู้มีอำนาจของทั้งสองฝ่ายจะลงนามในบันทึกข้อตกลงนั้น เพื่อรับรองว่า ทั้งสองฝ่ายพึงพอใจกับข้อตกลงที่ทำร่วมกัน และ MOU ฉบับนี้ก็จะมีผลบังคับใช้เมื่อทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในเอกสารนั้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ข้อแตกต่าก MOU-สัญญา
หลายคนอาจเข้าใจว่า "MOU" กับสัญญา น่าจะมีคว่ามคล้ายคลึงกัน เพราะมีการเซ็นลงนามเหมือนกัน แต่ในความเป็นจริงแล้ว 2 คำนี้ มีความแตกต่างกัน ดังนี้
MOA หมายถึง บันทึกข้อตกลง ถือเป็นหนังสือสัญญาที่มีการระบุหลักเกณฑ์หรือข้อกติกาให้ผู้ทำสัญญาต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้
โดยหากมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตาม MOA ก็อาจมีความผิดทางกฎหมายฐานประพฤติผิดสัญญา และอีกฝ่ายสามารถฟ้องร้องได้
ซึ่งแตกต่างจาก MOU ที่เป็นการบันทึกความเข้าใจร่วมกัน แต่ไม่ใช่ข้อสัญญาผูกมัดนั่นเอง
อย่างไรก็ดี กองธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน นฤมล บุญแต่ง นักวรรณศิลป์ 7 ว ให้คำอธิบายว่า บันทึกความเข้าใจ หรือ MOU เป็นหนังสือซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใด และตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่ง
โดยที่หนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่วแน่ของผู้ลงนามว่าจะปฏิบัติดังที่ได้ระบุไว้ เช่น สถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งในประเทศไทย ทำบันทึกความเข้าใจกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ เพื่อความร่วมมือทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษา
ขณะที่ บันทึกข้อตกลง (Memorandum of Agreement) เป็นหนังสือหรือสัญญา ซึ่งมีข้อความที่ระบุเป็นหลักเกณฑ์หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติหรือดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นข้อกติกา ข้อที่นัดหมายกันไว้ หรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้ จึงมีใช้ได้ทั้ง 2 คำ แต่จะใช้บันทึกความเข้าใจมากกว่า เช่น MOU ระหว่างมหาวิทยาลัยกับส่วนราชการ ในการแลกเปลี่ยนวิชาการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
MOU พรรคก้าวไกล
ล่าสุดนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกล พร้อมแกนนำพรรคร่วมรัฐบาล 8 พรรคการเมือง ได้มีการการลงนามข้อตกลงร่วม (MOU) ในการจัดตั้งรัฐบาล โดยระบุว่า จุดประสงค์ในการทำ MOU เป็นการรวบรวมวาระร่วมของพรรคการเมืองที่เห็นตรงกัน และพร้อมจะผลักดันผ่านกลไกของรัฐบาล และรัฐสภา และเป็นความรับผิดชอบข้อตกลงร่วมกันของพรรคที่มาร่วมกันจัดตั้งรัฐบาล
สำหรับเนื้อหาของ MOU การจัดตั้งรัฐบาลครั้งนี้ ระบุว่า บันทึกความเข้าใจร่วมนี้จัดทำขึ้นเพื่อสร้างพื้นฐานในการจัดตั้งรัฐบาล และการทำงานร่วมกันระหว่างพรรคก้าวไกล พรรคก้าวไกล พรรคเพื่อไทย พรรคประชาชาติ พรรคไทยสร้างไทย พรรคเสรีรวมไทย พรรคเพื่อไทรวมพลัง พรรคเป็นธรรม และพรรคพลังสังคมใหม่
ทั้งนี้ทุกพรรคเห็นร่วมกันว่า ภารกิจของรัฐบาลที่ทุกพรรคจะผลักดันนั้นต้องไม่กระทบต่อรูปแบบของรัฐ การปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และการดำรงอยู่ในฐานะเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ต่อองค์พระมหากษัตริย์ โดยมีวาระร่วมทั้งสิ้น 23 ข้อ