วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566

ความสำคัญ ของโครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ หรือ นโยบายของรัฐ ภาคเอกชน

2. ท่าน ศุภกร. เล็กยิ้ม Supakorn Lekyim ที่ปรึกษาโครงการ.ฝ่ายการเงินและธนาคารสถาบันการเงิน
(นโยบายประชารัฐ ภาคเอกชน) ไทยเพิ่มสุข D - HOUSE GROUP ประธานโครงการ 3 ท่าน ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี
ศุภกร. เล็กยิ้ม Supakorn Lekyim ที่ปรึกษาโรงการ.ฝ่ายการเงินและธนาคารสถาบันการเงิน (นโยบายประชารัฐ ภาคเอกชน) ไทยเพิ่มสุข D - HOUSE GROUP 1.ประธานกรรมการบริหารสูงสุด ท่าน สรณอัฐ สุทธาสุทธินันท์.....ที่ปรึกษาฝ้ายการเงิน.. 2.ท่าน ศุภกร. เล็กยิ้ม ประธานโครงการ 3 ท่าน ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี
< /div> ความสำคัญ ของโครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐ หรือ นโยบายของรัฐ ภาคเอกชน วันนี้เป็นวันดีนะครับเป็นวันสิ้นปีของรอบวันเกิด ของผู้เขียน และเป็นวันเริ่มต้นชีวิตใหม่ วันนี้เป็นวันดีที่ได้กำหนดแผนงานว่าจะต้องเขียนแผนธุรกิจขึ้นมาเพื่อ เสริมสร้าง ให้องค์กรมีแนวคิดต่อยอดจากความคิดของเรา และ การลงมือ ทำงานหรือการลงทุนในการทำธุรกิจ การที่เรามีแผนกำหนดเป้าหมายเอาไว้นั้นเราจะต้องมีระเบียบและวิธีการในการ จัดการในการทำงานจะต้องสร้าง โครงสร้างของธุรกิจขึ้นมา ในการสร้างโครงสร้างธุรกิจขึ้นมานั้น เขาต้อง ใช้ความรู้ความสามารถที่เรามีอยู่ใน องค์ความรู้ของเราที่เรามีประสบการณ์การทำงานเรามีประสบการณ์ การใช้ความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ในการบริหารมีประสบการณ์ในการประกอบการในหน้าที่ตลอดจนเราได้ ดำเนินธุรกิจ ไป ดำเนินการธุรกิจตาม planning ที่เรากำหนดไว้นั้นจนสำเร็จลุล่วง แล้วเสร็จและมีกำไร เราก็ประเมินผลจากการทำงานที่ผ่านมาในประสบการณ์ เมื่อเราเห็นผลงานประสบการณ์ที่ผ่านมาของเราเองนั้น สำเร็จผลเราก็ เผยแพร่ความรู้ของเราที่มีอยู่ ให้กับ พนักงานเพื่อพัฒนาองค์กรหรือคนที่เข้ามาเรียนรู้กับเราเราจะได้เผยแพร่ให้กับลูกศิษย์ของเรา ถึงขั้นตอนนี้ก็เช่นเดียวกัน จังกับผมเองในฐานะที่เป็นผู้ที่มีความ ชำนาญเป็นผู้ทรงมนุษย์ทางด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จนเกิด Training ธุรกิจที่สั่งสมประสบการณ์มาในระยะเวลาร่วม 30 ปีที่ผ่านมา ปัจจุบันได้เขียนโครงการ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลซึ่งเรียกว่าโครงการ senior complex ประชารัฐภาคเอกชนสิ่งใดประสานงานกับทางท่านอธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุท่าน ดร.สมคิดสมศรี ในอดีตจน ประสานงานกับทางกระทรวงพัฒนาสังคมเป็นโครงการประชารัฐ ในสมัย รัฐบาลของท่านประยุทธ์ ซึ่งเป็นโครงการเพื่อสังคม และผู้สูงวัย เตรียมแผนต้อนรับการอยู่อาศัยของผู้สูงวัยในการแก้ปัญหา ระดับชาติ จนทำให้ แพนนิ่งธุรกิจของผมที่เขียนขึ้นมาเป็นที่ยอมรับของ กรมกิจการผู้สูงอายุ เป็นที่ยอมรับของหน่วยงานราชการ และได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน ทั้งสถาบันการเงิน ในประเทศไทย ในภาครัฐที่ ให้การสนับสนุนสินเชื่อโครงการ ธนาคาร ออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคาร แห่งชาติ และสถาบันการเงินต่างประเทศอีกหลายสถาบัน ที่ให้การสนับสนุนโครงการ ดร.สมัย แหมมั่น ในอดีต จนปัจจุบันนี้ ในระยะเวลาที่ การจัดทำโครงการเพื่อให้ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการนโยบายของภาครัฐนั้น ใช้ระยะเวลาในการทำโครงการก็ หลายปี เขียนโครงการมาหลายปีจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีจน เกิดการ สนับสนุนจากหน่วยงานของภาครัฐและออกหนังสือ ให้การสนับสนุนโครงการเป็นรูปประธรรม โดยโครงการ senior คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน ของ ดร.สมัย เหนมั่น นั้น ได้รับการสนับสนุนจากกรมกิจการผู้สูงอายุ โดยใช้นโยบายของรัฐบาล ในการจัดทำโครงการ เป็นนโยบายประชารัฐ วางแผนการอยู่อาศัย หลังวัยเกษียณของผู้สูงวัยหรือผู้ที่มีความสนใจที่จะวางแผน การอยู่อาศัยใน วัยเกษียณหลังจากการทำงาน ไปแล้ว โครงการได้รับการอนุมัติ ในการสนับสนุนให้สนับสนุนสินเชื่อโครงการสำหรับ การดูแลผู้สูงวัย ด้วยการ ดูแลสุขภาพของผู้สูงวัยกันโรงพยาบาล การดูแลสุขภาพ สำหรับภาคเอกชนที่มีความประสงค์ จะขอสินเชื่อเพื่อทำโครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน รัฐบาลก็จัดงบประมาณจัดนโยบาย ในการสนับสนุนสินเชื่อโครงการสิ่งใดของเด็กซึ่งเป็นเหตุการณ์ของรัฐ ไว้ให้บริการตามความเหมาะสมความจำเป็นของการขอสินเชื่อโครงการดังกล่าว โดยอนุมัติ ให้โครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน สามารถที่จะกู้เงิน จาก ธนาคารของภาครัฐ ในการจัดทำโครงการได้เหมือนกับโครงการธุรกิจอสังหา หรือโครงการใน SME ทั่วๆไป ก็สามารถกู้ขึ้นมาเพื่อที่จะทำโครงการได้ ถือว่าเป็นนโยบายหลักที่มีความ สำคัญและเป็นหัวใจในการขอความช่วยเหลือจากสถาบันการเงินที่รัฐสนับสนุน เรือ่งนี้ก็ถือว่าเป็นโครงการที่ส่งเสริมการลงทุน ของภาครัฐที่ส่งเสริมให้ทำธุรกิจประกอบการในส่วนที่เป็นกิจการของรัฐในภาคเอกชนบรรลุเป้าหมาย ในส่วนของโครงการ ประชารัฐภาคเอกชนของท่านดอกเตอร์ สมัย ได้พัฒนาอาการรูปแบบการจัดทำการตลอดจนแบบแปลนตลอดจนแผนนิ่งงานเพื่อ พัฒนาโครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน เป็นโครงการระดับชาติ และขอความร่วมมือจากหน่วยงานของภาครัฐ ในการขอทุนเพื่อทำการตลอดจนภาคเอกชน ขอทุนเพื่อทำโครงการ ชนบทนี้ปี 2561 มีความสนใจ เข้าดูงานเข้าดู แผนธุรกิจแผนการบริหาร ของ ดร ชัยณัฎฐ์ แสงมณี ได้จัดทำสำนักงานเพื่อเป็นศูนย์ประสานงานระหว่างไทยต่างประเทศเพื่อส่งเสริมการลงทุนและก็ศูนย์สัมมนา เพื่อที่จะให้หน่วยงานราชการหน่วยงานท้องถิ่น ได้เข้าชมและรับฟังการบรรยายให้ความรู้ในการวางแผนเพื่อการอยู่อาศัยของวัยเกษียณตลอดจน ความจำเป็นในการ จะดำรงชีวิตหรือการวางแผนชีวิตในวัยเกษียณว่ามีวิธีการจัดการกับชีวิตของตนเอง ที่ดีอย่างไร ให้กัผู้สนใจและเพยแพร่ความรู้ให้กับนักศึกษา และประชาชนและข้าราชการหน่วยงานต่างๆเพื่อลดปัญหาในการ อยู่อาศัยของผู้สูงวัยในอนาคตที่จะมา ถึงและวันเวลาของแต่ละท่านได้เข้าอยู่อาศัย ในโครงการลักษณะดังกล่าวซึ่งเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ตลอดจน เตรียมการในการก่อสร้าง โครงการเพื่อตอบสนองความต้องการของ พี่น้องประชาชนชาวไทยทุกคนที่มีความต้องการอยากจะเข้าอยู่อาศัย โครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน ซึ่งเป็นโครงการที่มีความสมบูรณ์มีความเป็นบูรณาการ ที่สามารถสัมผัสได้จริงของประชาชนคนไทยตั้งแต่ 1 คือราคาไม่แพง 2 มีองค์ประกอบครบครันสามารถที่จะฝากชีวิตในบั้นปลาย 3 ตลอดจนการดูแลสุขภาพส่งเสริมสุขภาพที่ดี 4 ตลอดจน การวางแผนที่จะอยู่ใน ชีวิตที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ สามารถที่จะ ดำรงชีวิตอยู่ได้ในโครงการ ที่มีการดูแลด้วยระบบ Smart City ตลอดจน health care ที่ทันสมัย และ เทคนิคการชะลอวัยจราจร การวางแผนด้านอาหาร ในการบริโภค สำหรับผู้สูงวัย และ ที่พักอาศัยอันเหมาะสมสามารถที่จะเข้าอยู่ได้จริงสำหรับผู้ที่มีความประสงค์ในการอยู่ อาศัยในโครงการ วันนี้ธนาคาร สถาบันการเงินจากต่างประเทศให้การสนับสนุน ด้วยการรับรองโครงการ ซึ่งเป็นสถาบันการเงินไฟแนนซ์จากประเทศอังกฤษ และ ไฟแนนซ์จากดูไบให้การรับรองวงการว่าเป็นโครงการที่มีความเหมาะสมต่อมนุษย์ กับธนาคารในประเทศไทยซึ่งเป็นสถาบันการเงิน แห่งชาติ คือสถาบันการเงินธนาคาร UOBแห่งประเทศไทย ให้การสนับสนุนโครงการเพื่อการจัดทำ startup เป็นแผงสตาร์ทอัพธุรกิจที่จะ ผลักดันให้โครงการเปิดลุล่วงไปดีๆ Step แรกพัฒนาธุรกิจโดยการสร้างโครงสร้างของธุรกิจตัวอย่างขึ้นมา แล้วก็ว่าประชาสัมพันธ์ โครงการสิริกิตให้ประชาชนชาวไทยได้รับทราบรับรู้และก็สร้างโครงการตัวอย่างขึ้นมา ด้วยงบประมาณ ระยะแรกจำนวน 200 ล้านบาท ในระยะที่ 2 เพื่อสนับสนุนโครงการในการจัดทำและบริหารการก่อสร้างโครงการ ผลักดันงบประมาณในการก่อสร้างโครงการ 1 โครงการจำนวน 500 ล้านบาท และใน งบประมาณการจัดทำโครงการเพื่อขยายโครงการออกไปในแต่ละจังหวัด ที่วางแผนเอาไว้นั้นงบประมาณ ที่เหมาะสม ในการพัฒนาโครงการ จำนวน 5,000 ล้านบาท อันนี้ ก็เป็นระยะแรกที่ สถาบันการเงินดังกล่าวให้การสนับสนุน โดยการวางแผน เพื่อที่จะรองรับ ผู้ที่มีความสนใจในโครงการ คาดว่าสามารถที่จะเข้าอยู่ภายในปี 25 68 โครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน ภายในปี 2566 ปลายปีนี้ก็เป็นช่วงที่ตาเตรียมการในการพัฒนา และ สรรหา พื้นที่การจัดทำโครงการตลอดจนบุคลากรเข้าร่วม การทำ Start Up ธุรกิจ อันนี้ก็เป็นไปตามแผนที่วางไว้ของดอกเตอร์ชยณัฐแสงมณี ได้ให้ข้อมูลไว้ ในวันนี้ปี 2566 เดือน 12 เนื้อหารายงานจาก ฝ่ายประชาสัมพันธ์ โครงการ ซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ ประชารัฐภาคเอกชน สำนักงาน ศูนย์ประสานงาน เขตดอนเมือง ดร.ชยณัฎฐ์ แสงมณี 30 /12/2566

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น